Hi

วันจันทร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556

Week 19

Monday 30 September 2013

Content

อาจารย์แจ้งรายละเอียดก่อนปิดคอร์ส
บล็อกต้องทำให้เสร็จเรียบร้อย
รายละเอียดของบล็อก คำอธิบาย วิจัย สรุป สื่อ บทความ

****  และอาจารย์ได้สรุปองค์ความรู้ของวิชานี้ทั้งหมดที่เรียนมาและบอกถึงขั้นของการสอนเด็ก การนำไปใช้กับเด็ก การทำสื่อต่างๆ



วันพุธที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2556

สรุปงานวิจัย


การศึกษาเปรียบเทียบผลของการจัดประสบการณ์แบบปฎิบัติการการทดลอง กับแบบผสมผสานที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

   การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์โดยวิธีการปฏิบัติการการทดลอง และวิธีผสมผสานจะส่งผลต่อทักษะทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยเพียงไร และต้องการศึกษาเปรียบเทียบการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองและผสมผสาน จะส่งผลต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์แตกต่างกันเพียงอย่างไร 



วันจันทร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2556

Week 18

Monday 23 September 2013

Content

  กิจกรรมการทำ Cooking แกงจืด

     การทำอาหารในระดับปฐมวัยมีความสำคัญเพราะเป็นการเรียนรู้ทักษะในทุกๆด้านทำให้เด็กเกิดความสนใจในกิจกรรมและรู้จักการทำอาหารที่มีประโยชน์เพราะเด็กบางคนไม่ชอบรับประทานอาหารหรือเลือกทานอาหารที่ตัวเองชอบแต่ถ้าเด็กได้ลงมือทำอาหารเองเด็กจะเกิดความสนใจและอยากทานอาหารที่เด็กได้ลงมือทำและเกิดความภาคภูมิใจที่ได้ทำอาหารเองทำให้เด็กเรียนรู้ทุกสาระวิชา เช่น คณิตศาสตร์ ภาษา วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา สังคม เด็กเกิดความตื่นตัวและสนุกสนานกับบทเรียนและมีความสนใจอยากทำอาหารรักการทำอาหารและสนใจการรับประทานมากขึ้น 

รูประหว่างการทำ


ประโยชน์ที่เด็กได้รับจากการทำ Cooking
   ด้านวิทยาศาสตร์  เด็กได้เรียนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์   จากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงในขณะปรุงอาหาร   ก่อนทำอาหาร  และหลังจากการทำอาหาร ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของสี  กลิ่น  รูปร่างของอาหาร  เป็นต้น

วันจันทร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556

Week 17

Monday 16 September 2013

Content

 อาจาร์ยตฤน ให้ทำ Mind Mapping ในการทำ Cooking          
ขั้นแรก     ให้แต่ะละกลุ่มเลือกแจกแจงเรื่องอาหาร ว่ามีไรบ้าง 
ขั้นที่สอง เลือกเมนูของแต่ละกลุ่มว่าจะทำอะไร กลุ่มของดิฉันเลือกทำข้าวผัด เนื้อหาใน Map มี อุปกรณ์ ส่วนประกอบ ประโยชน์ วิธีทำ
ขั้นที่สาม  จากนั้นก็เขียนขั้นตอนวีธีทำข้าวผัด 
ขั้นที่สี่      เขียนแผนในเรื่องการสอนทำ Cooking ข้าวผัด 

วัตถุประสงค์ 
 1. เด็กสามารถบอกส่วนผสมและสังเกตวัตถุของข้าวผัด
 2. เด็กสามารถบอกความเปลี่ยนแปลงของวัตถุก่อนและหลังทำได้

สาระสำคัญ  
1.เด็กรู้ประโยชน์ของข้าวผัด
2. เด็กได้รู้ส่วนผสมและวิธีการทำข้าวผัด

วิธีการ 
ขั้นนำ 
 - ครูนำเด็กเข้าสู่บทเรียนด้วยนิทานประโยชน์ของข้าว    
 - ครูถามคำถามเด็กเกี่ยวกับอาหารที่เด็กชอบ                      
ขั้นสอน 
- ครูถามคำถามเด็กว่าเห็นอุปกรณ์อะไรบ้างและเราจะนำมาทำอะไร
 - ครูแนะนำอุกรณ์และสร้างข้อตกลงกับเด็กร่วมกันในการทำอาหาร
 - ครูและเด็กร่วมกันทำข้าวผัดแสนอร่อย  
ขั้นสรุป
 - ครูและเด็กร่วมกันพูดถึงประโยชน์ของข้าว
 - ครูและเด็กร่วมกันสรุปส่วนผสมของข้าวผัดและบอกความเปลี่ยนแปลงก่อนและหลังทำ
 - เด็กทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย   
                       
  สื่อ   อุปกรณ์การทำข้าวผัด ส่วนผสมของข้าวผัด และนิทาน  

 ประเมิน  - สังเกตการบอกเล่าวัตถุของเด็ก และสังเกตการบอกวัตถุถึงการเปลี่ยนแปลงก่อนและหลังทำ

                   ภาพการทำและนำเสนอของกลุ่มดิฉัน                               ดิฉัน


ภายในกลุ่มดิฉัน


นำเสนอของทุกกลุ่ม

วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556

Week 16

Saturday 15 September 2013

Content

   * อาจารย์ชี้แจงถึงรายละเอียดของบล็อก ซึ่งการเขียนอนุทินจะบ่งบอกว่าท่านได้อะไรบ้าง และอาจาร์ยชี้แจงว่า อ. ตฤน จะมาสอนในการทำแผน Cooking ที่สอดคล้องกับวิชา

  * อาจาร์ยชี้แจงในเรื่องของการจัดนิทรรศการของเล่นกลุ่มเพื่อส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ซึ่งงานนิทรรศการจะจัดต้องมีเอกสารให้ด้วยให้เห็นถึง Concept วิทยาศาสตร์ เช่น สังเกตการเดินทางของแสง มันเป็นอย่างไร  อนุบาลส่วนใหญ่ไม่สอบทฤษฎี จะนำไปปฏิบัติและนำไปเป็นองค์ความรู้เอง เรียกว่า Constructivism คือ 

   ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง (Constructivism)


สื่อเข้ามุม

วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556

Week 15

Monday 9 September 2013

Content

** ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจาร์ยติดภาระกิจ นักศึกษาได้รับงานเตรัยมนำเสนอในอาทิตย์ถัดมาที่มีเรียน **

วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556

Week 14

Monday 2 September 2013

Content

  นำเสนอสื่อเข้ามุมของแต่ละกลุ่ม พร้อมทั้งส่งเปเปอร์ให้อาจารย์ดู ว่าสื่อผ่านหรือไม่ ซึ่งแต่ละกลุ่มจะต้องมีหลักการให้สอดคล้องกับสื่อของตนเอง อาจาร์ยจะดูระหว่างนำเสนอว่าหลักการสอดคล้องกับสื่อมั้ย ถูกต้องหรือเปล่า เหมาะสมกับเด็กมั้ย อาจาร์ยจะเป็นผู้ให้คำแนะนำแก่สื่อที่นำเสนอ พร้อมทั้งบอกตรงไหนดีหรือควรปรับปรุงใหม่ และการนำไปใช้


วันจันทร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Week 13

Monday 26 August 2013

Content

    อาจาร์ยให้สรุปงานวิจัยจากที่เราหาด้วย และนำเสนอสื่อของเล่นต่างๆ



วันจันทร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Week 12

Monday 19 August 2013

Content

  การนำเสนอต้องมีกระบวนการขั้นตอน เช่่น เด็กๆคิดว่าสิ่งเล่านี้ทำไรได้บ้าง ถ้าครูวางบนดินสอจะเกิดอะไรขึ้น เด้กๆบอกครูสิคะว่าเมื่อลูกโป่งถูกับผมแล้วเกิดอะไรขึ้น เด็กๆทราบไหมว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร สุดท้ายเราก็สรุป เช่น เด็กๆบอกครูสิว่าลูกโป่งถูกับผมแล้วมันเกิดอะไรขึ้น  ซึ่งการถามไม่มีผิดหรือถูกเพราะคำถามเหล่านี้เป็นคำถามปลายเปิด เพราะจะทำให้เด็กคิดอย่างเป็นระบบที่เราถาม 

          ภาพการนำเสนอ

                                                 

การทดลองแต่ละกลุ่ม



วันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Week 11

Saturday 17 August 2013 

Content

เรียนชดเชย

   นำเสนอสื่อของเล่น ทั้ง 3 ชิ้นที่ใครยังส่งไม่ครบ เมื่อเพื่อนนำเสนอสื่อของตน หรือของกลุ่มพร้อมทั้งบอกหลักการที่เกี่ยวกับทาววิทยาศสตร์ว่า สิ่งทำมานั้นสอดคล้องอย่างไรกับวิทยาศาสตร์ซึ่ง ระหว่างแต่ละกลุ่มมีการนำเสนอเสร็จ อาจารย์ก็จะได้แสดงความคิดเห็นให้คำปรึกษา ว่าสื่อชิ้นนี้ได้หรือไม่ หลักการที่ทำสอดคล้องไหม พร้อมทั้งอาจารย์ยังให้ข้อเสนอแนะต่างๆของแต่ละกลุ่มพร้อมทั้งการนำไปใช้

ภาพระหว่างการนำเสนอของกลุ่มดิฉัน

ภาพระหว่างการนำเสนอของกลุ่มเพื่อน




วันจันทร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2556

วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Week 8

Monday 29 June 2013

Content

    อาจารย์ติดภาระกิจ แต่ได้ทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ทำ คือ สื่อทั้ง 3 ชิ้น ได้แก สื่อของเล่น สื่อการทดลอง และสื่อเข้ามุม ที่เป็นงานกลุ่มทั้งหมด ซึ่งได้ทำงานตามที่ได้รับเป็นของตนเองและเตรียมมาในสัปดาห์ต่อไป

  

วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Week 7

Sunday 28 June 2013

Content

เรียนชดเชย ในเรื่องของการทำของเล่นเข้ามุม

การทำของเล่นเข้ามุม
  ในการทำสิ่งปรดิษฐ์ของตนเองที่ทำในคาบ จากนั้นอาจารย์ก็ได้บอกถึงงานที่สั่งให้ทำไปว่า ต้องทำงานทั้ง 3 อย่างให้เสร็จพร้อมที่จะนำเสนอส่งอาจารย์ มีขั้นตอนในการทำมาให้เรียนร้อย และโพสใส่บล็อกของตนเอง

วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Week 6

Monday 22 June 2013

Content
- ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันเข้าพรรษา


วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Week 5

Monday 15 June 2013
Content

present สื่อวิทยาศาสตร์



   สื่ออไรก็ตามถ้าไม่ลองทำก็จะนึกภาพยาก นำเสนอแล้วต้องทำสื่อของตัวเอง การเขียนเรื่องมาส่งถ้าจะอธิบายอะไรต้องถ่ายรูปไว้ เช่น  

ขั้นที่  1................................. (ทำอะไร)  

ขั้นที่ 2 ................................. (ทำอะไร) 

** คือต้องมีขั้นตอนในการผลิต ชี้แจงรายละเอียด

 อาจารย์ให้ดู Power Point เกี่ยวกับสื่อ

1. เรื่องของแรงดันอากาศจากหลอด

2. เสียงเกิดขึ้นจากการสั้นสะเทือนของวัตถุ

3. หลอดดนตรี เมื่อหลอดมีขนาดต่างกันก็จะทำให้เสียงที่ออกมาต่างกัน

** ของเล่นที่เด็กเล่นเองจะอยู่ในมุมประสบการณ์

งานที่ได้รับมอบหมาย 

1. นำเสนอของตัวเอง และนำอุปกรณ์มา 1 ชุด 

2. ของเล่นการทดลอง

3. ของเล่นมุมประสบการณ์

อาจารย์ให้ดูวีดีโอ

เรื่อง ความฉลาดแบบยกกำลังสอง - ลูกโป่งรับน้ำหนัก


เรื่อง รู้รอบโลกวิทยาศาสตร์  - เมล็ดจะงอกไหม ของ Thai PBS


ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับเมล็ดพืช

- มีอุณหภูมิ

- อากาศ

- น้ำ
     และอื่นๆ ซึ่งมีความสัมพันธ์ต่อการงอก หากขาดสิ่งใดสิ่ง 1 ไปก็อาจจะไม่งอก

วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Week 4

Monday 8 July 2013
Content

Present สื่อ ตุ๊กตาล้มลุก




อาจารย์ให้แจกกระดาษวาดรูปเพิ่มรายละเอียด จำนวน 8 หน้า



- ทำไมภาพที่เราวาดเพิ่มรายละเอียดถึงเหมือนภาพเคลื่อนไหว

* วิธีการเรียนรู้ของเด็กคือ             

 - เด็กลงมือกระทำกับวัตถุด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5                    ** เรื่องแสง น้ำ อากาศ ล้วนแล้วเป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์กัน

อาจารย์ให้ดูวีดีโอ เรื่องของ อากา






เนื้อหาที่สรุปใบไม้ล่วงมาได้อย่างไร- เพราะลม ลมคืออากาศที่เคลื่อนที่ได้ รอบตัวเรามีสิ่งที่เรียกว่าอากาศ อากาศมีได้ทุกที่

รอบตัวเรามีอากาศอยู่ด้วยแต่จับต้องไม่ได้ 

ฟองสบู่ลอยขึ้นและตกลงมาเพราะอะไร        

- เพราะอากาศที่เรานำเข้าไปในฟองทำให้ลอยขึ้น พอเย็นฟองก็ตกลงมา

ลมพัดมาในห้องได้อย่างไร




- บนพื้นโลกมีลมพัดตลอดเวลา บนพื้นโลกจะมีความร้อนไม่เท่ากัน อากาศร้อนบนพื้นจะดันลอยให้อากาศขึ้นมา อากาศเย็นของน้ำจึงเข้ามาแทนที่ และแต่ละที่มีความร้อนเย็นต่างกัน  ลมพัดตามมาเข้าบ้านตามทิศทางอากาศ

    คุณสมบัติอากาศ


   รื่องของแรงดึงอากาศเป็น แรงที่อากาศตกลงบนพื้นต่างๆ ที่น้ำไม่ไหลออกจากแก้ว เพราะใช้หลักแรงดันอากาศ การที่เติมน้ำเต็มเป็นการไล่อากาศจึงดันน้ำไม่ให้ไหลเมื่อคว่ำลง ก็เพราะอากาศดันไว

                                  แรงดันมีคุณสมบัติมาก



    เพราะใช้หลักแรงดันอากาศ อากาศจึงออกแรงดันให้ลูกโป่งขยายตัวออก อากาศมีแรงดันมาก แรงดันอากาศยังนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน เช่นการเจาะรูในกระป๋องนม 

ลูกโป่ง


      ลูกโป่งเกิดการเคลื่อนที่ของอากาศทั้ง 2 ลูก ตามหลักนี้นำมาใช้ทำปีกเครื่องบิน
เครื่องบินไอพ่น


    ไอพ่นเครื่องบินก็ใช้อากาศเข้ามาช่วย หลักของเครื่องบินไอพ่นปล่อยอากาศที่อัดไว้ ไว้ข้างหลังเพื่อปล่อยให้เครื่องบินพุ่งไปข้างหน้่า                                                                                **  เรื่อง น้ำ อากาศ แสง ทั้ง 3 เรื่องต้องใช้สื่ออธิบายที่ทำให้เห็น แต่ถ้าคุณทำสื่อมาเสริมจะทำให้เด็กเห็น หรือใช้สื่อมัลติมีเดีย หากทำไม่ได้ก็ใช้ภาพ หรือ pop-up ทำให้เห็นการนำเสนอที่ทดลอง

วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Week 3

Monday 1 July 2013

Content 

- อาจารย์ทบทวนงานที่ศึกษาทั้ง 6 ประเด็น- อาจารย์บอกถึงการหาความรู้นั้นคุณต้องอ่านให้เร็ว และอ่านทวนอีกทีจากนั้นดึงประเด็นให้ได้ มีประสบการณ์เรื่องนี้อย่างไรและสังเคราะห์ให้เป็นความคิดของตัวเราเอง หลังจากนั้นก็ต่างคนต่างทำ และวิเตราะห์กันแต่ละกลุ่ม มีการหมุนโดยให้บ้านนั้นอยู่กับที่โดยมีคนเดินเข้าบ้าน และทั้ง 6 กลุ่มมีอะไรเหมือนหรือต่างกันอย่างไร และมีอะไรเพิ่มเติม


ข้อสรุป


  

   อาจารย์ให้ดูของเล่นและดูว่าเกิดอะไรขึ้น  - คือเราจะใช้ตาดู และมันจะมีจังหวะที่มองและมองไม่เห็นวัตถุนั้นเพราะมันมีการเปลี่ยนแปลง แสงจะทำให้เด็กเห็นวัตถุ เพราะแสงกระทบกับวัตถุ


วีดีโอ ความลับของแสง


     เนื้อหาและความรู้ที่ได้รับ

- แสงมีความสำคัญมาก พอไฟฟ้าดับก็ไม่มีแสงใดๆ พอฝนตกก็มองอะไรไม่ชัด แสงจะเป็นตัวช่วยให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆชัดเจน **แสงเกี่ยวข้องอย่างไร ถ้ารอบๆตัวเราไม่มมีแสงก็จะมองไม่เห็น- แสงเป็นคลื่นชนิด 1 เป็นคลื่ินที่มีความยาวและเร็วมาก 3 แสน/วินาที

การทดลองที่ช่วยให้เรามองเห็น 

 คือ หากล่องใบใหญ่ 1 ใบเจาะรูและนำวัตถุมาใส่ ในกล่อง และปิดกล่อง ลองมองในรููที่เจาะไว้ข้างในมืดสนิท ทีรี้ค่อยๆเปิกฝาแล้วมองดูเห็นวัตถุที่อยู่ในกล่อง เพราะแสงส่องมาโดนวัตถุ แสงสะท้อนวัถตุนั้นมาที่ตาของเรา  ตาของเราคือจอรับแสงมองมาที่วัตถุโดยตรง  มนุษย์ยังนำแสงมาใช้ประโยชน์มากมาย แสงมีคลื่นลักษณะเป็นเส้นตรงอย่างเดียวไปจนถึงวัตถุที่กั้นแสง 

  **ทำไมถึงแยกวัตุโปร่งแสงและโปร่งใส- โปร่งแสงจะทะลุบางส่วนเท่านั้น เช่น กระจกฝ้า- โปร่งใสจะทะลุผ่านไปทั้งหมดและมองชัดเจน เช่น กระจกใส   ทำไมภาพที่เรามองถึงกลับหัว- ดวงตามีรูเล็กๆ คือ รูรับแสง ในตาเราก็มองภาพกลับหัวเหมือนกัน เพียงเพราะว่าสมองกลับภาพของเราเป็นปกติโดยอีตโนมัติ

วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556

Week 2

Monday 24 June 2013

Content


- อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 6 คน ศึกษาประเด็นๆ ละ 5 นาที- จากนั้นก็อ่านของเพื่อนและสรุปเป็น 1 อัน ว่าจะออกมาเป็นอย่างไร และเสนอตัวแทนรายงานตามกลุ่มเพื่อน- และคิดวิธีการนำเสนอออกมานำเสนอหน้าห้อง




อาจารย์ให้ดู มหัศจรรย์ของน้ำ



วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2556

Week 1

Monday 17 June 2013

Content


* อาจารย์ชี้แจงเรื่องมาสายหากสาย 15 นาที 3 ครั้งถือว่าขาด 1 ครั้ง   

  วิชานี้เป็นวิชาวิทยาศาสตร์ที่ต้องใช้กับเด็ก ซึ่งเราไม่ต้องเรียนเนื้อวิทยาศาสตร์ ไม่ต้องผสมสารเคมี ไม่ต้องเรียนอย่างลึกซึ้ง ซึ่งในรายวิชานี้จะมีการจัดประสบการณ์ต้องมีการลงมือกระทำการสอน 
วิทยาศาสตร์ นึกถึงอะไร 
   คือ นึกถึงเนื้อหา ทฤษฎี การทดลอง ประดิษฐ์ ธรรมชาติ สิ่งที่มีชีวิตและไม่มีฃีวิต สายลม แสงแดด อาหาร กระบวนการต่างๆ สิ่งเหล่านี้มีรวมกันเป็นกระบวนการ มีการปฏิบัติการ การประดิษฐ์นี่คือการประยุกต์ใช้สิ่งใหม่ และมีการจัดระดมความคิดเห็น เช่น mind mapping
* ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสารถ้าหากบกพร่องก็ไม่สามารถเขียนได้* คณิตศาสตร์หากไม่สามารถคำนวณแทนค่าก็ไม่สามรถสื่อสารได้เช่นกัน

กิจกรรมในห้อง
คุณคาดหวังว่าสุดท้ายนี้คุณจะได้เรียนอะไรวิชานี้บ้าง (ทำใส่กระดาษที่แจก)
- คือ ได้เรียนถึงการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กจะจัดให้ตรงกับความสามารถและพัฒนาการได้อย่างไรบ้าง มีหลักการอย่าไรในการจัด ซึ่งเรียนแล้วจะสามารถประยุกต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่เด็ก
    เด็กปฐมวัย (keyword) นึกถึงเด็กอนุบาล ของเล่น พัฒนาการ คือ การเจริญเติบโตแตละช่วงอายุ การเปลี่ยนแปลงตามช่วงอายุที่เป็นไปตามระดับขั้นตอนช่วงอายุอย่างต่อเนื่อง ช่วงอายุหรือการเปลี่ยนแปลงบอกถึงว่าเด็กทำอะไรได้บ้างในช่วงอายุนั้น จัดประสบการณ์ต้องจัดให้ตรงตามอายุพัฒนาการ   
 พัฒนาการเป็นเรื่องสำคัญ พัฒนาการเป็นเกณฑ์ในการประเมินว่าทำได้หรือไม่ได้ ประเมินจากผลงานไปตรวจสอบพัฒนาการ
 ** พัฒนาการของเด็กที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องสัมพันธ์กับพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน

- วิทยาศาสตร์อยู่ในพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์

ความหมายความสำคัญ แนวคิด ทฤษฎี หลักการเป็นแนวพื้นฐาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รูปแบบการจัดการสอนมาตราฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก การออกแบบ การวางแผนกิจกรรม การผลิตสื่อวิทยาศาสตร์ การใช้คำถามพัฒนาการความคิด กระบวนการสืบเสาะ การประเมิน บทบาทของครูและผู้ปกครองในการส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

พัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์



 *คำว่ามาตราฐานนึกถึง เกณฑ์ ตัวชี้วัด การประเมิน คุณภาพ 
ผลลัพธ์การเรียนรู้ 

คุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริตในการทำงาน ตรงต่อเวลา รับผิดชอบในงานที่รับ แสดงความคิดเห็น

  ทักษะทางปัญญา คิดวางแผนทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและรับผิดชอบทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคดนโลยีสารสนเทศบรรยากาศในห้องเรียน